170-448 การพยาบาลปฐมภูมิ Print
(Read : 48218 times)

 

รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : ผศ.ดร.สุขศิริ ประสมสุข, อาจารย์ศนิกานต์ ศรีมณี, อาจารย์วราภรณ์ คำรถ

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ
ศึกษาทั่วไป
หมายเหตุ
Slide เอกสาร
แบบทดสอบ
1

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

  • ความหมายของการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  • ความสำคัญของการรักษาโรคเบื้องต้น
  • วัตถุประสงค์ของการศึกษาการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
  • ขอบเขตของการศึกษาการทักษะในการปฐมพยาบาล
  • บทบาทและหน้าที่ในการรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น

2. การซักประวัติสุขภาพ

  • ความหมายและขั้นตอนการซักประวัติสุขภาพและประเมินสุขภาพ
  • เทคนิคการซักประวัติสุขภาพ

3. การเขียนบันทึกการสัมภาษณ์ประวัติ
4. การประเมินภาวะสุขภาพ

youtube

2

2. การตรวจร่างกาย  ตามระบบอาการ

  • การตรวจผิวหนัง ศีรษะ หน้า ปาก ตา หู คอ จมูก ทรวงอก ปอด
  • การตรวจช่องท้องและอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในช่องท้อง ทวารหนัก ระบบประสาท ข้อและกระดูก

 

3

3. การใช้ยาในการรักษาพยาบาลเบื้องต้น

  • ประเภทของยาและการใช้ยาในการรักษาโรคหรืออาการที่พบบ่อย
  • ยารักษาเฉพาะโรค
  • ยารักษาสนับสนุน
  • หลักการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำในหน่วยฉุกเฉิน
  • ข้อบ่งชี้ในการให้สารน้ำและสารละลายที่ใช้บ่อยในห้องฉุกเฉิน
  • ภาวะฉุกเฉินที่ให้สารน้ำหรือสารละลายบ่อย ๆ ในห้องฉุกเฉิน

youtube

youtube

4

4. การตรวจร่างกาย (ต่อ)

  • การตรวจช่องท้อง และอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในช่องท้อง ทวารหนัก ระบบประสาท ข้อและกระดูก

5

5. การตรวจทางห้องปฏิบัติการตรวจพิเศษเพื่อการวินิจฉัยโรค

  • ความสำคัญและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติ
  • การแปลผลการตรวจเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค

6

6. หลักการและแนวทางรักษาโรคปฐมภูมิ

  • การวินิจฉัยโรคตามกลุ่มอาการที่พบ ได้แก่ กลุ่ม อาการไข้และไอปวดศีรษะ เวียน ศีรษะ ใจสั่น

7

6. หลักการและแนวทางรักษาโรคปฐมภูมิ (ต่อ)

  • การวินิจฉัยโรคตามกลุ่มอาการที่พบบ่อย ได้แก่ กลุ่ม อาการปวดท้อง ท้องเดิน บวม ตามัว ใจสั่น ปวดข้อ ปวดหลัง อ่อนเพลีย

 

8 สอบกลางภาค
9

การรักษาโรคเบื้องต้น

  • Assesment
  • การแสดงทางคลีนิก
  • ประเภทของไข้
  • การวินิจฉัยและการประเมินผู้ป่วย
  • การซักประวัติ
  • Acute Abdomen History taking
  • ระบบ Uro
  • Pyelonephritis (กรวจไตอักเสบ)
  • โรคมีผลต่อการควบคุมปัสสาวะเสีย
  • นิ่วในทางเดินปัสสาวะ /ท่อไต / กระเพาะปัสสาวะ
  • Acute glomeruronephitis
  • โรคที่ทำให้เกิดภาวะดีซ่าน
  • Coliky pain
  • การตรวจทาง LAB
  • Cluster Headache

youtube

10

7. การรักษาพยาบาลเบื้องต้นทางด้านศัลยกรรม
7.1 ชนิดของบาดแผล
7.2 บาดแผลที่สำคัญได้แก่ บาดแผลทะลุหน้าอก บาดแผลที่ท้อง บาดแผลที่ตา บาดเจ็บจากการถูกกดทับ แขนขาขาด บาดแผลถูกแทง บาดแผลเล็กน้อย / บาดแผลติดเชื้อ
7.3 ประเภทของการเสียเลือด ได้แก่

  • การเสียเลือดภายนอกอย่างรุนแรง
  • การเสียเลือดที่ตำแหน่งพิเศษ
  • การเสียเลือดภายใน

11

7.4 การเย็บตกแต่งแผลที่ไม่สาหัส

  • การประเมินบาดแผล
  • การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้
  • การฟอกล้างบาดแผล
  • การฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
  • วิธีการเย็บแผล
  • การดูแลบาดแผลที่เย็บและการตัดไหม
  • การถอดเล็บ การผ่าฝี และผ่าตัดเล็กเพื่อเอาสิ่งแปลกปลอมออก
  • การดูแลแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก

youtube

12

นำเสนอกรณีศึกษารายกลุ่ม

13

 นำเสนอกรณีศึกษารายกลุ่ม

14

การช่วยชีวิตฉุกเฉินใน ER

  • Pre-Hospital Phase
  • Pre-Hospital Resuscitation
  • Triage
  • In-Hospital Phase
  • Advance Trauma Life Support
  • Management
  • Primary Survey
  • Secondary Survey

youtube

youtube

15 สอบปลายภาค