รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download
อาจารย์ผู้สอน ดร. ยงยุทธ นาราษฎร์
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ
|
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ
|
1 |
ส่วนประกอบวงจรไฟฟ้าและกฎแรงดันและกระแส (๑) กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า (๒) ตัวต้านทานและแหล่งจ่ายแบบต่างๆ (๓) กฎของเคอร์ชอฟฟ์ (๔)การแบ่งแรงดันและการแบ่งกระแสในวงจรไฟฟ้า
|

|

|

|




|
2 |
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าแบบโหนด (๑) การวิเคราะห์แบบโหนดสำหรับกรณีที่วงจรประกอบด้วยแหล่งจ่ายกระแสอิสระ (๒) การวิเคราะห์แบบโหนดของวงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายกระแสและแหล่งจ่ายแรงดันอิสระ (๑)การวิเคราะห์แบบโหนดของวงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไม่อิสระ
|
|

|

|









|
3 |
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าแบบเมซ (๑) การวิเคราะห์แบบเมซของวงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายแรงดันอิสระ (๒) การวิเคราะห์แบบเมชของวงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายกระแสอิสระ (๓) การวิเคราะห์แบบเมชกระแสของวงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไม่อิสระ
|

|
|
|







|
4 |
ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า (๑) ซุปเปอร์โพสซิชั่น (๒) ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน (๒) การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด
|

|
|
|







|
5 |
ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ (๑) ตัวเก็บประจุ (๒) ตัวเหนี่ยวนำ
|
|
|

|


|
6 |
วงจร RL และ RC (๑) การวิเคราะห์หาผลตอบสนองตามธรรมชาติของวงจร RC (๒) การวิเคราะห์หาผลตอบสนองตามธรรมชาติของวงจร RL
|

|
|
|


|
7 |
วงจร RL และ RC (๑) การวิเคราะห์หาผลตอบสนองรวมของวงจร RC เมื่อกระตุ้นด้วยแหล่งจ่ายดีซี (๒) การวิเคราะห์หาผลตอบสนองรวมของวงจร RL เมื่อกระตุ้นด้วยแหล่งจ่ายดีซี
|
|

|
|


|
8 |
สอบกลางภาค |
|
|
|
|
9 |
ผลตอบสนองของวงจร RLC (๑) ผลตอบสนองของวงจร RLC ขนาน (๒) ผลตอบสนองของวงจร RLC อนุกรม
|

|
|
|


|
10 |
การวิเคราะห์วงจรในสภาวะคงตัวของไซน์ (๑) คุณลักษณะของไซน์ (๒) เฟเซอร์ (๓) อิมพีแดนซ์และแอ็ดมิตแตนซ์
|

|

|

|




|
11 |
การวิเคราะห์วงจรในสภาวะคงตัวของไซน์ (๑) การวิเคราะห์แบบโหนด (๒) การวิเคราะห์แบบเมซ
|

|

|
|

|
12 |
การวิเคราะห์วงจรในสภาวะคงตัวของไซน์ (๑) ทฤษฎีการทับซ้อน (๒) วงจรสมมูลของเทวินินและนอร์ตัน
|

|
|
|


|
13 |
การวิเคราะห์กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ (๑) กำลังไฟฟ้าชั่วขณะและกำลังไฟฟ้าเฉลี่ย (๒) การถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด
|

|
|
|


|
14 |
การวิเคราะห์กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ (๑) ค่าประสิทธิผลหรือค่า RMS (๒) กำลังไฟฟ้าปรากฏและค่าเพาเวอร์แฟ็คเตอร์ (๓) กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน (๔) การปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟ็คเตอร์
|
|
|
|

|
15 |
วงจรสามเฟส (๑) แรงดันสามเฟสสมดุล (๒) การต่อแบบวาย –วาย สมดุล การต่อแบบวาย –เดลต้าสมดุล |

|
|

|
 |
16 |
วงจรสามเฟส (๑) การต่อแบบเดลต้า –เดลต้าสมดุล (๒) การต่อแบบเดลต้า –วายสมดุล กำลังไฟฟ้าในระบบสามเฟสสมดุล |
|

|
|
 |
17 |
สอบปลายภาค |
|
|
|
|
|