Skip to content

olearning.siam.edu

151-334 การออกแบบเครื่องจักรกล 1 Print E-mail
(Read : 21398 times)

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download

 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ชาญชัย วิรุณฤทธิชัย

 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ

ศึกษาทั่วไป
หมายเหตุ
Slide เอกสาร

 แบบทดสอบ

1

พื้นฐานการออกแบบ
- ปรัชญาของการออกแบบ
- พื้นฐานของผู้ออกแบบเครื่องจักรกล
- ขั้นตอนของการออกแบบ
- ระบบของหน่วย
- คุณสมบัติทางกลของวัตถุ
- ค่าความปลอดภัย
- เอกสารอ่านประกอบ

alt

alt

alt

youtube

2

คุณสมบัติทางโลหะวิทยาของวัสดุวิศวกรรม
- นิยาม
- เหล็กเหนียว
- เหล็กหล่อ
- โลหะผสมสาหรับเหล็กกล้า
- เหล็กกล้า
- การให้ชื่อเหล็กกล้าเหนียวของ AISI-SAE
- อะลูมิเนียมผสมเหนียว
- อะลูมิเนียมผสมหล่อ
- ทองแดงและทองแดงผสม
- แมกนีเซียมผสม
- นิกเกิลและนิกเกิลผสม
- พลาสติก
- เอกสารอ่านประกอบ

 

 

 

 

 

3

การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลย่อย
- ความเค้นอย่างง่าย
- ความเครียด
- การบิด
- คาน
- ภาชนะความดันผนังบาง
- เสา
- คานโค้ง
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

 

 

4

ความเค้นผสมและทฤษฎีความเสียหาย
- ความเค้นผสมในระบบความเค้นสองมิติ
- ทฤษฎีความเค้นหลักสูงสุด
- ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด
- ทฤษฎีความเค้นเฉือนออกตะฮีดรัล
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

5

การออกแบบสาหรับการแตกหักเนื่องจากความล้า
- กลไกความล้า
- ความต้านแรงทนทานและขีดความจากัดความทนทาน
- ตัวประกอบของผิว
- ตัวประกอบของขนาด
- ตัวประกอบของแรง
- ตัวประกอบความเค้นหนาแน่น
- เกณฑ์ของโซเดอร์เบอร์ก
- การแตกหักเพราะความล้าเนื่องจากความเค้นผสม
- ความต้านแรงชนิดมีอายุใช้งานจำกัด
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

6

รอยต่อด้วยหมุดย้ำและสลักเกลียว
- การเสียหายของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
- ชนิดของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
- ประสิทธิภาพของรอยต่อด้วยหมุดย้ำ
- การออกแบบรอยต่อด้วยหมุดย้าของภาชนะความดัน
- การเฉือนในหมุดย้าและสลักเกลียวเนื่องจากแรงเยื้องศูนย์
- ความเค้นผสมในหมุดย้ำและสลักเกลียว
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

7

Proposal Presentation 1

 

 

 

 

8 สอบกลางภาค



9

การยึดด้วยสลักเกลียว
- แบบของเกลียว
- การให้ชื่อ
- ชนิดของอุปกรณ์ยึดด้วยเกลียว
- อุปกรณ์ล๊อก
- คุณสมบัติทางกลของสลักเกลียว
- ความเค้นที่รอยต่อด้วยเกลียว
- การหาความสูงแป้นเกลียวและความยาวเกลียว

 

 

 

 

 

10

ลิ่มและสลัก
- ชนิดของลิ่ม
- การให้ชื่อลิ่ม
- ความเค้นที่รอยต่อด้วยลิ่ม
- ความเค้นที่รอยต่อด้วยสปลายน์
- สลัก
- ความเค้นที่รอยต่อด้วยสลัก
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

11

การออกแบบเพลา
- วัสดุเพลา
- ขนาดของเพลา
- การพิจารณาในการออกแบบ
- การออกแบบเพลาตามโค้ดของ ASME
- ความแข็งเกร็ง
ทางด้านการบิด
- การออกแบบเพลาภายใต้แรงเปลี่ยนแปลง
- ความเร็ววิกฤติของเพลา
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

12

สปริง
- วัสดุสาหรับลวดสปริง
- คุณสมบัติทางกลของลวดสปริง
- ความเค้นสปริงขดรับแรงกด
- การยืดหดของสปริงขด
- ความแข็งตึงของสปริง
- จำนวนขดทำการ
- ระยะยุบตัวใช้งาน
- พลังงานที่เก็บโดยสปริง
- การออกแบบสปริงขดรับแรงกด
- การออกแบบสปริงขดโดยคิดให้แรงอยู่นิ่ง

 

 

 

 

 

 

13

สปริง (ต่อ)
- เสิร์จในสปริง
- การโก่งงอของสปริงขด
- การตกกระแทกของวัตถุบนสปริงขด
- การใช้สปริงขดซ้อนกัน- การออกแบบสปริงขดภายใต้แรงเปลี่ยนแปลง
- สปริงขดแบบดึง
- สปริงขดแบบบิด
- สปริงแผ่น
- สปริงแหวน
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

 

 

14

สกูรส่งกาลัง
- คำจากัดความ
- ชนิดของเกลียวสาหรับสกูรส่งกาลัง
- เกลียวในระบบหน่วยอังกฤษ
- เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูตามมาตรฐานไอเอสโอ
- การให้ชื่อ
- โมเมนต์สาหรับหมุนสกรูส่งกำลัง
- ประสิทธิภาพของสกรูส่งกำลัง
- การล๊อกด้วยตนเอง
- การออกแบบสกรูส่งกำลัง
- เอกสารอ่านประกอบ
- แบบฝึกหัด

 

 

 

 

 

 

15 Proposal Presentation 2

 

 

 

16 สอบปลายภาค