Skip to content

olearning.siam.edu

130-306 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการ Print E-mail
(Read : 12471 times)

 

รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : อาจารย์โสภิดา ทะสังขา, อาจารย์ภักดี พละการ, อาจารย์หทัยกาญจน์ นิกรพงษ์สิน, อาจารย์สมพร ปานยินดี

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download 1,

 

 รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : อาจารย์โสภิดา ทะสังขา

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download 2

สัปดาห์ที่

หัวข้อ
ศึกษาทั่วไป
หมายเหตุ
Slide เอกสาร
แบบทดสอบ
1

แนะนำเค้าโครงรายวิชา ภาพรวม และวัตถุประสงค์ของรายวิชา เอกสารประกอบการสอน ตลอดจนการวัดผลการเรียนการสอน

youtube

2

ส่วนที่ 1 : จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
บทที่ 1 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ
- ความหมาย และความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ
- ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจริยธรรม
- แนวคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ

 

 

 

 

3

บทที่ 2 : ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ
- ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ
- แนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ

 

 

 

 

4

ส่วนที่ 2 : ธรรมมาภิบาล (Good Governance)
บทที่ 3 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
- ธรรมาภิบาลคืออะไร
- แหล่งกำเนิดธรรมาภิบาล
- ความล้มเหลวของระบบการบริหารจัดการกับจุดกำเนินธรรมาภิบาล

 

 

 

5

บทที่ 4 : หลักการและแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
- แนวคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาล
- หลักการสำคัญของธรรมาภิบาล
- พัฒนาการต้นแบบธรรมาภิบาล

 

 

 

6

บทที่ 5 : ธรรมาภิบาลในประเทศไทย
- กระแสกำเนิดธรรมาภิบาลในประเทศไทย
- หลักสำคัญของธรรมาภิบาลไทย
- การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในภาครัฐ

  • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี
  • พระราชกฤษฏีการการบริหารปกครองที่ดี พ.ศ. 2546

 

 

 

7

บทที่ 5 : ธรรมาภิบาลในประเทศไทย (ต่อ)
- วาระแห่งชาติด้านจริยธรรมธรรมาภิบาลและการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ
- ธรรมาภิบาลกับแผนพัมนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
- ปัญหาและอุปสรรคของการนำธรรมาภิบาลมาใช้ในภาครัฐ

บทที่ 6 : จรรยาบรรณของข้าราชการ
- จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือนไทย
- จรรยาบรรณของข้าราชการต่างประเทศ

 

 

 

 

8 สอบกลางภาค
9

ส่วนที่ 3 บรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance)
บทที่ 7 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดี
- บรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีคืออะไร
- ความรู้เบื้่องต้นเกี่ยวกับบรรษัทภิบาล / การกำกับดูลกิจการที่ดี
- หลักบรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดี

 

 

 

 

10

บทที่ 8 : บรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีในประเทศไทย
- แนวทางการดำเนินงานด้านบรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีของไทย
- การพัฒนาบรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีในประเทศไทย
บรรษัทภิบาลแห่งชาติ

  • หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • โครงการสนับสนุนให้บริษัทจดทะเบียนมีการกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี

 

 

 

11

บทที่ 8 : บรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีในประเทศไทย (ต่อ)
- ธรรมาภิบาลในภาคธุรกิจของไทย
- บทบาทของกรรมการในระบบธรรมาภิบาล
- ดัชนีชี้วัดบรรษัทภิบาลในภาคธุรกิจไทย
- ปัญหาและอุปสรรคของบรรษัทภิบาล / การกำกับดูแลกิจการที่ดีของไทย

 

 

 

12

ส่วนที่ 3 : ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ (Corporate Social Responsibillity : CSR)
บทที่ 9 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ CSR
- ความหมายและความสำคัญของ CSR
- จุดกำเนิดกระแสผลักดันที่ทำให้เกิด CSR
- ประโยชน์ของ CSR

 

 

 

 

13

บทที่ 10 : หลักการและแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับ CSR
- องค์ประกอบและแนวปฏิบัติของ CSR
- การจำแนกประเภทของ CSR
- รูปแบบของ CSR
- CSR กับบรรษัทภิบาล

 

 

 

 

14

บทที่ 10 : หลักการและแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับ CSR (ต่อ)
- หลักการและแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับ CSR
- มาตรฐาน CSR ที่เป็นสากล

  • มาตรฐาน ISO 26000
  • UN Global Compact

- ปัจจัยสู่ความสำเร็วของการทำ CSR

 

 

 

 

15

บทที่ 11 : CSR ในประเทศไทย
- แนวคิดของการทำ CSR ในประเทศไทย
- CSR กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- CSR : ความรับผิดชอบต่อกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม

  • ความรับผิดชอบต่อแรงงาน
  • ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
  • ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม

- ปัญหาการทำ CSR ในประเทศไทย

 

 

 

 

16

- การวิเคราะห์กรณีศึกษาและการนำเสนอรายงาน
- สรุปและทบทวน

 

 

 

 

17

สอบปลายภาค