สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ |
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ |
1 |
แนะนำเค้าโครงรายวิชา ภาพรวมและวัตถุประสงค์ของรายวิชา เอกสารประกอบการสอน ตลอดจนการวัดผลการเรียนการสอน
|
|
|
|
|
2 |
บทที่ 1 : ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารในองค์การ - ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารในองค์การ - วัตถุประสงค์ของการสื่อสารในองค์การ - ลักษณะของการสื่อสารในองค์การ - หน้าที่ของการสื่อสารในองค์การ
|
|
|
|
|
3 |
บทที่ 2 : กระบวนการสื่อสารในองค์การ - ประเภทของการสื่อสาร - ระดับของกิจกรรมการสื่อสาร - ช่องทางการสื่อสารในองค์การ และแนวทางการเลือกช่องทางการสื่อสารในองค์การ - กระบวนการสื่อสารในองค์การ - ทฤษฎีการสื่อสารของ Berio - อุปสรรคของการสื่อสาร และแนวทางการขจัดอุปสรรคในการสื่อสารองค์การ
|
|
|
|
|
4 |
บทที่ 3 : พฤติกรรมทางการสื่อสารของบุคคล - กฎเกณฑ์ทางการสื่อสาร - การแปลความหมายในการสื่อสาร - พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดจากการใช้คำ - ปัญหาที่เกิดจากคำศัพท์ และแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดจากคำศัพท์ - การรู้จักตัวเอง : แนวคิดและรูปแบบ
|
|
|
|
|
5 |
บทที่ 4 : การฟัง - ความหมายและลักษระสำคัญของการฟัง - กระบวนการฟัง - ปัจจัยในการฟัง - ผลสะท้อนที่เกิดจากการฟัง - อุปสรรคของการฟัง - แนวทางการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ
|
|
|
|
|
6 |
บทที่ 5 : การสื่อสารที่ไม่ใช่คำพูด - ความหมายและหน้าที่ของการสื่อสารที่ไม่ใช่คำพูด - ประเภทของการสื่อสารที่ไม่ใช่คำพูด - ลักษณะของการสื่อสารที่ไม่ใช่คำพูด - รูปแบบของการสื่อสารทางร่างกาย - ระยะห่างในการสื่อสาร - ภาษาเทียบเคียงคำพูด - การใช้ภาษาทางกาย
|
|
|
|
|
7 |
บทที่ 6 : การสื่อสารระหว่างบุคคล - วัตถุประสงค์ของการสื่อสารระหว่างบุคคล - ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาระหว่างบุคคล - ลักษณะการสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีประสิทธิภาพ - ลักษณะการสื่อสารระหว่างบุคคลที่ดึงดูดใจ - ความขัดแย้ง และการแก้ไขความขัดแย้งในการสื่อสาระหว่างบุคคล
|
|
|
|
|
8 |
สอบกลางภาค |
9 |
บทที่ 7 : การสื่อสารของกลุ่มย่อย - ความหมายและองค์ประกอบของกลุ่มย่อย - ลักษณะสำคัญของกลุ่มย่อย - ประเภทของกลุ่มย่อย - โครงสร้างของกลุ่มย่อย - การชักนำของกลุ่มย่อย
|
|
|
|
|
10 |
บทที่ 8 : ความสัมพันธ์ของกลุ่มย่อย - ความสำคัญของความสัมพันธ์ในกลุ่มย่อย - ความขัดแย้งภายในกลุ่มย่อย - ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในกลุ่มย่อย - ปัจจัยที่สร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มย่อย - ผลของความสัมพันธ์ในกลุ่มย่อย
|
|
|
|
|
11 |
บทที่ 9 : ข่ายการสื่อสารในกลุ่มย่อย - ความสำคัญของข่ายการสื่อสารในกลุ่มย่อย - ประเภทของข่ายการสื่อสารในกลุ่มย่อย - ผลของการข่ายการสื่อสารที่มีต่อโครงสร้างการสื่อสาร
|
|
|
|
|
12 |
บทที่ 10 : แบบของการสื่อสาร - ความหมายและลักษระแบบของข่าวสารที่ดี - ประเภทแบบของการสื่อสาร - ผลของการสื่อสารแต่ละแบบ
|
|
|
|
|
13 |
บทที่ 11 : การวิเคราะห์การติดต่อระหว่างบุคคล - ความหมายและความสำคัญของการวิเคราะห์การติดต่อระหว่างบุคคล - แนวคิดที่ใช้ในการวิเคราะห์การติดต่อระหว่างบุคคล
|
|
|
|
|
14 |
บทที่ 12 : ข่ายการสื่อสารในองค์การ - ความหมายและหน้าที่สำคัญของข่ายการสื่อสารในองค์การ - ประเภทของข่ายการสื่อสารในองค์การ
|
|
|
|
|
15 |
บทที่ 13 : กิจกรรมการสื่อสารโดยการพูด - วัตถุประสงค์และการเตรียมการสื่อสารด้วยวาจา - รูปแบบการสื่อสารด้วยวาจา
|
|
|
|
|
16 |
บทที่ 14 : กิจกรรมการสื่อสารโดยการเขียน - หลักทั่วไปในการเขียน - แนวทางในการเขียน - รูปแบบการเขียนในองค์การ
|
|
|
|
|
17 |
สอบปลายภาค
|