รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : ดร.สมฤดี ชื่นกิติญานนท์, ดร.เหมวลา เชิดชูพันธ์เสรี, อาจารย์เฟื่องสุข ไพศาลกอบฤทธิ์, อาจารย์สุวรรณา เชียงขุนทด, อาจารย์วารุณี เพไร, อาจารย์สุนันทา บุญรักษา, อาจารย์สุลีมาศ อังสุเกียรติถาวร, อาจารย์เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น, อาจารย์วิภานันท์ ม่วงสกุล และอาจารย์ณัฐนันท์ เกตุภาค
รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ |
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ
|
1 |
1. การพยาบาลและการป้องกันระบบห่อหุ้มร่างกาย 1.1 ชนิดของแผลและการหายของแผล 1.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผลและการส่งเสริมการหายของแผล 1.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผล
|
|
|
|
|
2 |
2 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัด (care of the surgical patient) 2.1 หลักการพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด (preoperative care) 2.2 การเตรียมผิวหนังผู้ป่วยก่อนผ่าตัด (intrapreparation) 2.3 หลักการพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด (postoperative care)
|
|
|
|
|
3 |
3. การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านการขับถ่าย - การขับถ่ายปัสสาวะ 3.1 ลักษณะและส่วนประกอบของปัสสาวะปกติ 3.2 สาเหตุและปัญหาของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ 3.3 การประเมินปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะของบุคคล 3.4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการขับถ่ายเทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
|
|
|
|
|
4 |
4. การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านการขับถ่าย - การขับถ่ายอุจจาระ 4.1 ลักษณะและส่วนประกอบของอุจจาระปกติ 4.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการขับถ่ายอุจจาระ 4.3 ปัญหาที่พบบ่อยในการขับถ่ายอุจจาระ 4.4 การประเมินปัญหาในการขับถ่ายอุจจาระของบุคคล 4.5 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการถ่ายอุจจาระและเทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
|
|
|
|
|
5 |
5. การพยาบาลผู้ป่วยที่อักเสบและมีไข้ 5.1 กระบวนการอักเสบและกระบวนการเกิดไข้ 5.2 การประเมินความผิดปกติของการอักเสบและการเกิดไข้ 5.3 เทคนิคการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อลดไข้
|
|
|
|
|
6 |
6. การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านการหายใจ 6.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล 6.2 การประเมินการได้รับออกซิเจนของบุคคล 6.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการได้รับออกซิเจนและเทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง 6.4 การทำ deep breathing exercise, effective cough, postural drainage และ percussion & vibratio
|
|
|
|
|
7 |
สอบกลางภาค หัวข้อ 1-5
|
8 |
7. การพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม 7.1 การพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง 7.2 การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
|
|
|
|
|
9 |
8. บทบาทของพยาบาลในการช่วยแพทย์เพื่อเตรียมตรวจ การให้การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยได้รับการตรวจพิเศษต่าง ๆ
|
|
|
|
|
10 |
9. การให้การพยาบาลในการสนับสนุนการวินิจฉัยโรคและการรักษาโรค - การเก็บตัวอย่างส่งตรวจและการติดตามผลการตรวจ - หลักการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ - การติดตามผลตรวจ - การรายงานผลและการแปรผลการตรวจ - เทคนิคการเก็บตัวอย่างชนิดต่าง ๆ ส่งตรวจ
|
|
|
|
|
11 |
10. การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องได้รับยา : การบริหารยา 10.1 คำย่อและคำศัพท์เกี่ยวกับการใช้ยา 10.2 บทบาทและความสำคัญของพยาบาลเกี่ยวกับการให้ยาและการแก้ไขปัญหาการใช้ยา 10.3 การให้ยาทางปาก / ยาเฉพาะที่ / การให้ยาทางตาและหู 10.4 การฉีดยา(อุปกรณ์ / การเตรียม) 10.5 การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ / ชั้นผิวหนัง / ชั้นใต้ผิวหนัง 10.6 การติดตามผลข้างเคียงของการให้ยา การพยาบาลและบันทึก
|
|
|
|
|
12 |
11. การพยาบาลเพื่อตอบสนองความต้องได้รับยา : การให้สารน้ำ 11.1 ประเภทของสารน้ำและเลือด (หมู่เลือด) 11.2 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ 11.3 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับสารน้ำและเลือดทางหลอดเลือด และการเก็บตัวอย่างเลือด 11.4 การคำนวณอัตราการไหลของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ 11.5 การบันทึกการให้สารน้ำและเลือดวิธีการให้สารน้ำและเลือด การแทงและการผ่าหลอดเลือด (cut down) 11.6 การฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ 11.7 การติดตามอาการแทรกซ้อน
|
|
|
|
|
13 |
สอบปฏิบัติ หัวข้อที่ 1-6
|
14-15 |
สอบปฏิบัติ หัวข้อที่ 10-11
|
16 |
สอบปลายภาค หัวข้อ 6-11
|
|