รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : อาจารย์เฟื่องสุข ไพศาลกอบฤทธิ์, ผศ.ดร.อรทิพา ส่องศิริ, อาจารย์ธาตรีรุ่งโรจน์, อาจารย์วารุณี สุรนิวงศ์
รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ |
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ |
1 |
บทที่ 1 หลักการและแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับจริยศาสตร์ 1.1 ความหมายและความส าคัญของจริยศาสตร์ 1.2 ทฤษฏีจริยศาสตร์
- 1.2.1 ทฤษฎีประโยชน์นิยม
- 1.2.2 ทฤษฎีหน้าที่นิยม
1.3 การพัฒนาจริยธรรมในวิชาชีพ 1.4 ทฤษฎีพัฒนาทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก
|
|
|
|
|
2 |
บทที่ 2 หลักจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
2.1 ความหมายของจริยธรรม 2.2 ขอบเขตของจริยธรรม
- 2.2.1 จริยธรรมทั่วไป
- 2.2.2 จริยธรรมส่วนบุคคล
- 2.2.3 จริยธรรมวิชาชีพ
2.3 หลักจริยธรรมที่สำคัญ 2.4 ลักษณะของจริยธรรม 2.6 จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล
- ความเป็นมาของจรรณยาบรรณวิชาชีพ
- จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลของสหรัฐอเมริกา
- จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลของประเทศไทย
- จรรยาบรรณพยาบาลของสมาคมพยาบาลฯ พ.ศ. 2546
2.7 หลักจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล 2.8 สิทธิผู้ป่วย
- 2.8.1 คำประกาศสิทธิผู้ปุวย
- 2.8.2 สิทธิเด็ก
- 2.8.3 สิทธิผู้สูงอายุ
2.9 สิทธิพยาบาล
|
|
|
|
|
3 |
บทที่ 3 พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
3.1 คุณค่าเชิงจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
- 3.1.1 ประเภทของคุณค่า
- 3.1.2 คุณค่าของบุคคล
- 3.1.3 คุณค่าของวิชาชีพพยาบาล
3.2 ปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาล
- 3.2.1 ปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้รับบริการและผู้ร่วมงาน
- 3.2.2 ปัญหาการบอกความจริง
- 3.2.3 ปัญหาด้านความรู้และทักษะทางเทคนิคของพยาบาล
- 3.2.4 ปัญหาด้านการบริหารจัดการปฏิสัมพันธ์ในทีมการพยาบาลและทีมสุขภาพ
- 3.2.5 ปัญหาเกี่ยวกับชีวิตและความตาย
3.3 แนวทางในการเผชิญปัญหาจริธรรมในวิชาชีพพยาบาล
|
|
|
|
|
4 |
บทที่ 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
4.1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมาย
- 4.1.1 ที่มาของกฎหมาย
- 4.1.2 กฎหมายลายลักษณ์อักษร
- 4.1.3 จารีตประเพณี
- 4.1.4 หลักกฎหมายทั่วไป
4.2 ประเภทของกฎหมาย
- 4.2.1 กฎหมายอาญา
- 4.2.2 กฎหมายแพ่ง
- 4.2.3 กฎหมายระหว่างประเทศ
- 4.2.4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมยาสูบในประเทศไทย
|
|
|
|
|
5 |
บทที่ 5 กฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
5.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายวิชาชีพ 5.2 คำจำกัดความการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 5.3 สภาการพยาบาลกับบทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 5.4 กรรมการสภาการพยาบาล 5.5 สมาชิกกับสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายผู้ประกอบวิชาชีพ 5.6 การควบคุมการประกอบวิชาชีพ 5.7 บทกำหนดโทษ 5.8 ระเบียบข้อบังคับสภาการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลและการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550
|
|
|
|
|
6 |
บทที่ 6 กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
6.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายอาญา 6.2 การกระทำที่เป็นความผิดทางอาญา 6.3 เหตุยกเว้นความรับผิดและเหตุยกเว้นโทษ 6.4 อาญาความผิดหรืออายุความและโทษทางอาญา 6.5 พยาบาลกับการกระทำความผิดกฎหมายอาญา
บทที่ 7 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์กับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 7.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 7.2 สภาพบังคับในทางแพ่ง 7.3 นิติกรรม 7.4 ความรับผิดทางแพ่ง 7.5 พยาบาลกับการกระทำผิดกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 7.6 ปัญหาทางกฎหมายกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
|
|
|
|
|
7 |
บทที่ 8 กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.1 พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 8.2 พ.ร.บ. ยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 8.3 พ.ร.บ. โรคติดต่อ 8.4 การป้องกันและควบคุมโรค 8.5 การคุ้มครองอนามัยของประชาชน
|
|
|
|
|
8 |
8.8 นิติเวชและนิติจิตเวชที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล
- 8.8.1 ความหมายของนิติเวช นิติจิตเวช
- 8.8.2 บทบาทหน้าที่ของพยาบาลทางด้านนิติเวชและนิติจิตเวช
- 8.8.3 การปฏิบัติต่อผู้ป่วยคดี
- การบันทึกข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้อง - การดูแลผู้ป่วยคดีที่รับไว้ในโรงพยาบาล
|
|
|
|
|
|