รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ลัญชนา เพิ่มพูล, อาจารย์สุนันทา บุญรักษา, อาจารย์จิตต์ระพี บูรณศักดิ์, ดร.เหมวลา เชิดชูพันธ์เสรี, อาจารย์เอี่ยมฤทัย วิเศษหมื่น, อาจารย์ร.อ.ญ.วิภานันท์ ม่วงสกุล, อาจารย์สุวรรณา เชียงขุนทด, อาจารย์นิสาพร สลางสิงห์
รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ |
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ |
1 |
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุและการพยาบาลผู้สูงอายุ 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
- ความหมายและประเภท
- แนวโน้มสาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ
1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
- ความสำคัญและวิวัฒนาการของการพยาบาลผู้สูงอายุ
- บทบาทพยาบาล ผู้ดูแล ครอบครัว สังคมต่อผู้สูงอายุ
- หน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณลักษณะที่ดีของพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุ
- แนวคิดและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ
- มาตรฐานการพยาบาลผู้สูงอายุ
1.3 เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ
- จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
- เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ
|
|
|
|
|
2 |
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ 2.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสูงอายุ
2.2 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 2.3 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจสังคมและจิตวิญญาณ 2.4 ปัญหาที่พบซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง
|
|
|
|
|
3 |
บทที่ 3 ทฤษฎีความสูงอายุ 3.1 ทฤษฎีความสูงอายุทางชีวภาพ 3.2 ทฤษฎีความสูงอายุทางจิตวิทยา 3.3 ทฤษฎีความสูงอายุทางสังคมวิทยา 3.4 การประยุกต์ ทฤษฎีความสูงอายุเพื่อประโยชน์ทางการพยาบาล
|
|
|
|
|
4 |
บทที่ 4 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ 4.1 การประเมินภาวะสุขภาพทางกาย (ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน) 4.2 การประเมินภาวะสุขภาพทางจิต / สมอง สังคม และจิตวิญญาณ 4.3 ความแตกต่างของปัญหาสุขภาพในวัยสูงอายุและวัยอื่น
|
|
|
|
|
5 |
บทที่ 5 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 5.1 การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ
- ทางกาย (การออกกำลังกายอาหารการนอนหลับพักผ่อน เพศสัมพันธ์)
- ทางจิตสังคม (การจัดการความเครียด การมีส่วนร่วมในสังคม นันทนาการ)
- จิตวิญญา
5.2 การป้องกันโรคในผู้สูงอายุ 5.3 การฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
|
|
|
|
|
6 |
บทที่ 6 การเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ 6.1 การเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ 6.2 การเตรียมรับภาวะสุดท้ายแห่งชีวิต
|
|
|
|
|
7 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล 7.1 ปัญหาเกี่ยวกับการเคี้ยว การกลืน การย่อยและการเผาผลาญอาหาร 7.2 ปัญหาเกี่ยวกับโรคมะเร็ง
|
|
|
|
|
8 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล (ต่อ) 7.3 ปัญหาเกี่ยวกับประสาทสัมผัส
|
|
|
|
|
9 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล (ต่อ) 7.4 ปัญหาเกี่ยวกับการไหลเวียนเลือดและหายใจลำบาก (ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดอุดตัน โรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง ปอดบวม)
|
|
|
|
|
10 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล (ต่อ) 7.5 ปัญหาเกี่ยวกับความจำเสื่อม ภาวะสับสน ซึมเศร้า โรคพาร์กินสัน
|
|
|
|
|
11 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล (ต่อ) 7.6 ปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่าย (ท้องผูก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะลำบาก ไตวายเรื้อรัง) 7.7 ปัญหาเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์
|
|
|
|
|
12 |
บทที่ 7 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบบ่อยและการพยาบาล (ต่อ) 7.8 ปัญหาเกี่ยวกับอาการปวดข้อ (ข้อเสื่อม กระดูกพรุน) 7.9 ปัญหาเกี่ยวกับการถูกทารุณกรรมผู้สูงอายุ
|
|
|
|
|
13 |
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ 8.1 พฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาในผู้สูงอายุ 8.2 การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุที่มีผลต่อการใช้ยา 8.3 กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงและอันตรายจากการใช้ยาในผู้สูงอายุ 8.4 การพยาบาลผู้สูงอายุที่ได้รับยา
|
|
|
|
|
14 |
บทที่ 9 นโยบายและการจัดระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ - นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อและแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ - ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
|
|
|
|
|
|