Skip to content

olearning.siam.edu

170-332 การพยาบาลสูติศาสตร์ 1 Print E-mail
(Read : 238067 times)

 

รายชื่ออาจารย์ผู้สอน : อาจารย์วารุณี เพไร, ผศ.ภัทรพร อรัณยภาค, อาจารย์จิตต์ระพี บูรณศักดิ์

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ
ศึกษาทั่วไป
หมายเหตุ
Slide เอกสาร
แบบทดสอบ
1

บทที่ 1 บทนำ การพยาบาลสูติศาสตร์
1.1 ประวัติการพยาบาลมารดาและทารก
1.2 การพยาบาลมารดาและทารกในปัจจุบัน
1.3 แนวโน้มทางการพยาบาลมารดาและทารก
1.4 บทบาทและขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพในการพยาบาลสูติศาสตร์

alt

alt

alt

youtube

2

บทที่ 2 ทบทวนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
2.1 การปฏิสนธิ การฝังตัว และการเจริญเติบโตของไข่ที่ถูกผสมแล้ว
2.2 พัฒนาการของรก สายสะดือ เยื่อหุ้มทารกและน้ำคร่ำ
2.3 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
2.4 การไหลเวียนเลือดทารกในครรภ์
2.5 ส่วนต่าง ๆ และขนาดของศีรษะทารก
2.6 ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างเซลล์ การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

alt

 alt

alt

youtube

youtube

3

บทที่ 3 การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์
3.1 ศัพท์ทางสูติศาสตร์
3.2 การวินิจฉัยการตั้งครรภ์

  • 3.2.1 Presumptive signs
  • 3.2.2 Probable signs
  • 3.2.3 Positive signs

3.3 การเปลี่ยนแปลงของสตรีตั้งครรภ์

  • 3.3.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของสตรีตั้งครรภ์
  • 3.3.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์

alt

 alt

alt

youtube

youtube

4

3.4 การฝากครรภ์

  • 3.4.1 วัตถุประสงค์ของการฝากครรภ์
  • 3.4.2 ระยะเวลาการรับบริการฝากครรภ์
  • 3.4.3 การซักประวัติ
  • 3.4.4 การคาดคะเนอายุครรภ์และกำหนดวันคลอด
  • 3.4.5 การตรวจร่างกาย
  • 3.4.6 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
  • 3.4.7 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในระยะตั้งครรภ์
  • 3.4.8 การตรวจครรภ์

- Lie, Attitude, Presentation Denominator, Position
- Leopold’s maneuve

alt

alt

alt

youtube

5

3.5 การให้สุขศึกษาและคำแนะนำแก่สตรีมีครรภ์

  • 3.5.1 การแต่งกาย
  • 3.5.2 การขับถ่าย
  • 3.5.3 การมีเพศสัมพันธ์
  • 3.5.4 การเดินทาง
  • 3.5.5 อาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาลทันที
  • 3.5.6 อาการนำก่อนคลอด
  • 3.5.7 การเตรียมตัวมาคลอด

3.6 การพยาบาลสตรีที่มีอาการไม่สุขสบายในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์

 alt

alt

alt

6

3.7 การพยาบาลสตรีที่มีอาการไม่สุขสบายในระยะไตรมาสที่สอง
3.8 การพยาบาลสตรีที่มีอาการไม่สุขสบายในไตรมาสที่สาม
3.9 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการปรับตัวด้านจิตอารมณ์ในสตรีมีครรภ์
3.10 การเตรียมสตรีมีครรภ์เพื่อการคลอด

  • 3.10.1 Prenatal exercise
  • 3.10.2 Breathing exercise
  • 3.10.3 Relaxation exercis

alt

 alt

alt

youtube

7

บทที่ 4 การพยาบาลสตรีระยะคลอด
4.1 การเจ็บครรภ์

  • 4.1.1 ทฤษฎีการเริ่มเจ็บครรภ์
  • 4.1.2 อาการของการเจ็บครรภ์

4.2 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการคลอด
4.3 ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าของการคลอด
4.4 ระยะต่าง ๆ ของการคลอด

alt

 alt

alt

 

youtube

 

8

4.5 กลไกการคลอด

  • 4.5.1 Engagement
  • 4.5.2 Descent & Flexion
  • 4.5.3 Internal Rotation of Head
  • 4.5.4 Crowning
  • 4.5.5 Extension of the Head
  • 4.5.6 Restitution
  • 4.5.7 Internal Rotation of the Shoulders
  • 4.5.8 External Rotation of Head
  • 4.5.9 Birth by lateral flexio

 alt

alt

alt

9

4.6 การรับใหม่ผู้คลอด
4.7 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่หนึ่งของการคลอด

  • 4.7.1 ซักประวัติ
  • 4.7.2 การตรวจร่างกาย
  • 4.7.3 การวัดสัญญาณชีพ
  • 4.7.4 การประเมินสภาพทารกในครรภ์
  • 4.7.5 การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
  • 4.7.6 การดูแลความสุขสบายของผู้คลอดทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ
  • 4.7.7 การย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด

alt

alt

alt

 

10

4.8 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่สองของการคลอด

  • 4.8.1 การประเมินสภาวะผู้คลอด
  • 4.8.2 การเตรียมสำหรับการคลอด

- การเตรียมสถานที่และอุปกรณ์
- การเตรียมตัวของผู้ทำคลอด
- การเตรียมผู้คลอดทางด้านร่างกายและจิตใจ

alt

alt

alt 

11

4.9 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่สามของการคลอด

  • 4.9.1 การประเมินสภาวะผู้คลอด
  • 4.9.2 การทำคลอดรกและการตรวจรก
  • 4.9.3 การตรวจการฉีกขาดของช่องทางคลอด
  • 4.9.4 การซ่อมแซมฝีเย็บ

4.10 การพยาบาลผู้คลอดในระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอด

  • 4.10.1 การประเมินสภาวะผู้คลอด
  • 4.10.2 การดูแลย้ายผู้คลอดไปหอผู้ป่วยหลังคลอด

alt

alt

alt

12

บทที่ 5 การพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด
5.1 การปรับตัวทางด้านร่างกายของมารดาในระยะหลังคลอด

  • 5.1.1 มดลูกและปากมดลูก
  • 5.1.2 น้ำคาวปลา
  • 5.1.3 ผนังช่องคลอด
  • 5.1.4 เต้านม / การหลั่งน้ำนม
  • 5.1.5 การมีประจำเดือน
  • 5.1.6 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทั่ว ๆ ไป

5.2 การปรับตัวทางด้านจิตสังคมของมารดาและครอบครัวในระยะหลังคลอด

alt

alt

alt

 

13

5.3 การพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด

  • 5.3.1 การพยาบาลในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
  • 5.3.2 การพยาบาลในระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมงจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด

5.4 การพยาบาลมารดาที่มีอาการไม่สุขสบายในระยะหลังคลอด

  • 5.4.1 ไข้หลังคลอด
  • 5.4.2 ปวดมดลูก
  • 5.4.3 เต้านมคัด

5.5 การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา

alt

alt

alt

alt

 

14

บทที่ 6 การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
6.1 มโนทัศน์ของสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
6.2 พัฒนาการของการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
6.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสร้างสัมพันธภาพ
6.4 การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
6.5 บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก

alt

 alt

alt

 

15

บทที่ 7 การวางแผนครอบครัว
7.1 ความหมายและความสำคัญของการวางแผนครอบครัว
7.2 ขอบเขตแนวโน้มและเป้าหมายของการวางแผนครอบครัว
7.3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนครอบครัว
7.4 หลักและวิธีการคุมกำเนิด
7.5 การให้สุขศึกษาและการจูงใจผู้รับบริการวางแผนครอบครัว
7.6 บทบาทของพยาบาลในการให้บริการวางแผนครอบครัว

 alt

alt

alt

 16

สอบการตรวจครรภ์ การทำคลอด การดูแลทารกแรกเกิด