Skip to content

olearning.siam.edu

160-104 กฎหมายมหาชน Print E-mail
(Read : 7863 times)

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์รณัฐกรณ์ อัสมังกรัตน์ 

สัปดาห์ที่

หัวข้อ

ศึกษาทั่วไป
หมายเหตุ
Slide เอกสาร

แบบทดสอบ

1

ความหมายของกฎหมายมหาชน

  1. ความหมายของกฎหมายมหาชน และกฎหมายเอกชน
  2. ขอบเขตและความแตกต่างของกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
    ความแตกต่างทางด้าน
  • เนื้อหา
  • ความแตกต่างทางด้านรูปแบบ
  • ความแตกต่างทางนิติวิธี
  • ความแตกต่างทางด้านนิติปรัชญา
  • ความแตกต่างในเรื่องของเขตอำนาจศาล
  • ความแตกต่างขององค์กรที่เข้าไปมีนิติสัมพันธ์

youtube

2

ความหมายของรัฐ
1.1 องค์ประกอบของรัฐ
1.2 ความหมายและลักษณะของรัฐเดี่ยว
1.3 ความหมายและลักษณะของ รัฐคู่
1.4 ความหมายและลักษณะของหลักนิติรัฐ
1.5 ความหมายและลักษณะของ หลักนิติธรรม

 

 

 

 

3

การแบ่งประเภทของกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน

  1. การแบ่งประเภทกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
    • การแบ่งตามแนวของประเทศฝรั่งเศส
    • การแบ่งตามแนวของประเทศเยอรมัน
    • การแบ่งตามแนวของประเทศไท
  2. ความหมายของกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครอง
  3. ความหมายของกฎหมายการคลัง

 

 

 

 

4

ลักษณะเฉพาะพื้นฐานของกฎหมายมหาชน
1. เป็นกฎหมายที่ใช้ในการปฏิรูปเป็นกฎหมายที่ใช้กับนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนและบุคคลธรรมดา

 

 

 

 

5

2. เป็นกฎหมายที่มีเพื่อสาธารณะประโยชน์
3. เป็นกฎหมายที่ไม่เสมอภาคสามารถบังคับเอาได้เป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการควบคุมอำนาจรัฐหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ และฝ่ายปกครอง

 

 

 

6

พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในต่างประเทศ

  1. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในสมัยโบราณ
    1. ยุคอารยธรรมกรีกโบราณ

    2. ยุคอารยธรรมกรีกในโรม

    3. สมัยกลางถึงปฏิวัติฝรั่งเศส

  2. พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศฝรั่งเศสพัฒนาการของกฎหมายมหาชน
    ของกลุ่มระบบกฎหมายคอมมอนลอว์

 

 

 

7

พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย
1. ระบบการปกครองของไทยแต่โบราณ

  • สมัยสุโขทัย
  • สมัยกรุงศรีอยุธยา
  • สมัยกรุงธนบุรี
  • สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

 

 

 

 

 

2. การปฏิรูปในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

  • ปฏิรูประบบกฎหมาย
  • ปฏิรูประบบราชการ
  • ปฏิรูประบบศาล
  • การตั้งที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน

3. การเผยแพร่แนวความคิดเกี่ยวกับกฎหมายมหาชนในประเทศไทยในรัชกาลที่ 6

  • การจัดตั้งกรมร่างกฎหมายขึ้นในรัชกาลที่ ๖

4. การปฏิรูปการปกครองหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การจัดตั้งคณะกรรมการกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2476

  • การปรับปรุงการจัดองค์กรและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกาปี พ.ศ. 2522
  • สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาปัจจุบัน

 

 

 

 

9

บทบาทและความสำคัญของกฎหมายมหาชน
1. บทบาทของกฎหมายมหาชน

  • บทบาทในการปฏิรูป
  • บทบาทในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
  • บทบาทในการควบคุมการใช้อำนาจรัฐและของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
  • บทบาทในการกระจายอำนาจในการปกครอง

2. ความสำคัญของกฎหมายมหาชนในปัจจุบัน

  • การให้ความสำคัญในการศึกษากฎหมายมหาชนและการปรับปรุงระบบ
  • การเร่งพัฒนานักกฎหมายมหาชน

 

 

 

 

 

 

10

นิติวิธีทางกฎหมายมหาชน
1. นิติวิธีหลัก

  • นิติวิธีเชิงปฏิเสธ
  • ปฏิเสธไม่นำกฎหมายเอกชนมาใช้บังคับนิติวิธีเชิงสร้างสรรค์
  • สร้างหลักกฎหมายมหาชน

2. นิติวิธีประกอบในกฎหมายมหาชน

  • การเปรียบเทียบกฎหมาย
  • การวิเคราะห์กฎหมายมหาชนโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมวิทยา

 

 

 

11

นิติปรัชญาและหลักกฎหมายมหาชน

  1. สารบัญญัติ
  2. อำนาจรัฐ
  3. วิธีการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและวิธีการควบคุมการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง

 

 

 

12

4. หลักการของกฎหมายมหาชน

  • หลักความชอบด้วยกฎหมาย
  • หลักความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
  • หลักกฎหมายว่าด้วยบริการสาธารณะ
  • หลักสัญญาทางปกครอง

 

 

 

 

 

 

13

การจัดระเบียบ บริหาราชการภายในรัฐ

  1. หลักรวมอำนาจการรวมศูนย์อำนาจการกระจายการรวมศูนย์อำนาจหรือที่เรียกว่า
    หลักการแบ่งอำนาจ
  2. หลักการกระจายอำนาจ การกระจายอำนาจตามอาณาเขตหรือเขตแดน การ
    กระจายอำนาจให้แก่องค์กรส่วนท้องถิ่น การกระจายอำนาจทางเทคนิคหรือบริการ
  3. การจัดระเบียบบริหารราชการภายในรัฐ ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

14

การควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและฝ่ายปกครอง

  1. ความหมายของคำว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ
  2. ลักษณะการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ อำนาจผูกพัน อำนาจดุลยพินิจ
  3. การควบคุมการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐและฝ่ายปกครอง ปัญหาทั่วไปเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครองและเหตุผลในการควบคุมระบบการควบคุมการใช้อำนาจของรัฐ

 

 

 

 

15 

4. ลักษณะของการควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและฝ่ายปกครอง การควบคุมแบบป้องกัน การควบคุมแบบแก้ไข วิธีการควบคุมภายในฝ่ายบริหาร วิธีการควบคุมฝ่ายปกครอง โดยองค์กรภายนอกฝ่ายบริหาร วิธีการควบคุมฝ่ายบริหารโดยศาล

 

 

 

 

16 

การบริการสาธารณะความหมายของการบริการสาธารณะความสัมพันธ์ของหน่วยงานของรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐการบริการสาธารณะและศาลปกครองในทางกฎหมายมหาชน

 

 

 

 

15 สอบปลายภาค